หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2557

โรคจอประสาทตาเสื่อม ( AMD ) ป้องกันด้วย ไอไบ้ร์ท(I-BRYTE)



โรคจอประสาทตาเสื่อม ( AMD )
ป้องกันด้วย ไอไบ้ร์ท(I-BRYTE)



     โรคจอประสาทตาเสื่อม เป็นโรคที่มีความผิดปรกติเกิดขึ้น
ที่จุดกลางรับภาพของจอประสาทตา(Macula)ซึ่งเป็นส่วนที่ไวต่อการมองเห็นมากที่สุด

    โดยผู้ป่วยมักจะไม่สังเกตเห็นถึงความผิดปรกติในระยะเริ่มต้นมารู้ตัวเมื่อมีการสูญเสียการมองเห็นเกิดขึ้นแล้วอย่างไรก็ตาม

    โรคจอประสาทตาเสื่อมจะทำให้สูญเสียการมองเห็นเฉพาะตรงกลางภาพโดยที่ผู้ป่วยยังสามารถมองเห็นบริเวณขอบด้านข้างของภาพได้อยู่



      โรคนี้มีอุบัติการณ์สูงขึ้นมากในกลุ่มอายุตั้งแต่65ปีขึ้นไปเป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของภาวะตาบอดแบบถาวรในผู้สูงอายุ

       บุคคลที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมคือผู้สูงอายุดังนั้นผู้มีอายุตั้งแต่65ปีขึ้นไป

      จึงควรได้รับการตรวจจอประสาทตาทุก1-2ปีนอกจากนี้การสูบบุหรี่โรคความดันโลหิตสูงเบาหวานคลอเลสเตอรอลสูงและประวัติบุคคลในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้

      ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้มีโอกาสเกิดโรคนี้ได้มากกว่าคนทั่วไปชนิดของจอประสาทตาเสื่อม โรคจอประสาทตาเสื่อมมีลักษณะของโรค 2 รูปแบบ คือ


     1.แบบแห้งหรือแบบเสื่อมช้า(Dry หรือ Atrophic AMD)
เป็นรูปแบบที่พบได้มากที่สุดโดยเซลล์จอประสาทตาจะค่อยๆเสื่อมเสียไปอย่างช้าๆ

     ความสามารถในการมองเห็นจะค่อยๆลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆจนผู้ป่วยแทบไม่ทันได้สังเกต


     2.แบบเปียกหรือแบบเร็ว(Wet หรือ Neovascular AMD)
พบประมาณร้อยละ10-15ของโรคจอประสาทตาเสื่อมหมดจะเกิดการสูญเสียการมองเห็นอย่างรวดเร็วทันที

     เป็นผลจากจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมและ/หรือมีเลือดออกจากเส้นเลือดผิดปรกติใต้จอประสาทตา(Choroidal neovascular membrane)

     เราสามารถดูแล้วเองเพื่อลดโอกาสการเกิดโรคและการตาบอดจากโรคได้ โดย

       1.หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่นงดสูบบุหรี่รวมทั้งหลีกเลี่ยงจากควันบุหรี่ด้วยงดอาหารที่มีไขมันสูงถ้ามีโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงเช่นความดันโลหิตสูงเบาหวานต้องรักษาและควบคุมให้อยู่ในเกรณ์ปรกติ



      2.หมั่นออกกำลังกายแบบaerobic exerciseอย่างสม่ำเสมอโดยเลือกประเภทให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายเช่นเดินเร็วปั่นจักรยานอยู่กับที่ว่ายน้ำในผู้สูงอายุ

     หรือผู้มีปัญหาเรื่องข้อการทำกายบริหารในสระน้ำจะช่วยให้ออกกำลังได้ดีโดยต้องมีเกรณ์ในการตรวจวัดชีพจรขณะออกกำลังกายให้เหมาะสมตามอายุ

     และสภาพร่างกายด้วยจึงจะได้ผลดีและสามารถขอคำแนะนำจากแพทย์ได้



    3.หลีกเลี่ยงแสงแดดจ้าใส่แว่นตากันแดดเวลาออกนอกอาคารสถานที่โดยเลือกเลนส์แว่นตาที่สามารถป้องกันแสงสีฟ้าและรังสีUVได้ 99-100%และควรลดทอนความจ้าของแสงลงได้ 70-80%

         4.รับประทานอาหารผักผลไม้ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็นประโยชน์ต่อดวงตาพบว่าสารต้านอนุมูลอิสระlutein
/zeaxanthinมีอยู่ที่ตาในปริมาณสูง

     และมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเสื่อมของจอประสาทตาและเลนส์แก้วตาอาหารที่มีสารนี้ในปริมาณสูงได้แก่



      ไข่แดงมีมากที่สุดรองลงไปได้แก่ผลไม้และผักผลไม้ได้แก่ข้าวโพดเหลืองผลกีวีองุ่นแดงไร้เมล็ดฟักทองได้แก่ผัก zucchiniผักขม(spinach)แตงกวาถั่วลิสงเป็นต้น

      สำหรับผักใบเขียวเข้มชนิดต่างๆของไทยก็เชื่อว่ามีสารนี้อยู่มากเช่นกัน


       5.การรับประทานวิตามินหรือสารอาหารทดแทนในรูปของยาสำเร็จรูปควรให้จักษุแพทย์ตรวจดูสภาพจอประสาทตาก่อนว่ามีความจำเป็นที่จะต้องได้รับยาเสริมหรือไม่

       เพราะในยาพวกนี้มีปริมาณวิตามินและสารอาหารทดแทนในปริมาณสูงมากการรับประทาน

      โดยไม่จำเป็นอาจทำให้มีการสะสมจนก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายได้และจากผลการศึกษาพบว่ายาในกลุ่มนี้ไม่สามารถป้องกันการเกิดโรคหรือรักษาการมองเห็นที่เสียไปแล้วให้ดีขึ้นได้

      แต่ช่วยลดความเสี่ยงของโรคจอประสาทตาเสื่อมไม่ให้เข้าสู่ระยะรุนแรงได้ดังนั้นจึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนซื้อมารับประทานเอง

       6.เข้ารับการตรวจสุขภาพตาและจอประสาทตาเป็นระยะตามคำแนะนำในแต่ละช่วงอายุและหมั่นคอยสังเกตการมองเห็นในตาแต่ละข้างว่าปรกติดีหรือไม่

         ถ้าไม่แน่ใจควรรีบปรึกษาแพทย์ไม่ควรรอจนมีอาการตามัวอย่างชัดเจนเพราะอาจแก้ไขได้ยาก

ปัจจุบัน ป้องกันปัญหา โรคจอประสาทตาเสื่อม



ด้วยผลิตภัณฑ์ ไอไบ้ร์ท(I-BRYTE)

วิธีรับประทานไอไบ้ร์ทสำหรับผู้ป่วยโรคตาให้รับประทานวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 เม็ด

สำหรับรับประทานเป็นอาหารเสริม
ผู้ใหญ่ วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 เม็ด

ดูข้อมูลที่     http://ibrytemirnut.blogspot.com




ขนาดและราคา 1 ขวด 30 เม็ด ราคา 2,000 บาท
บริการส่งฟรีทั่วประเทศไม่คิดค่าส่ง

สนใจเป็นตัวแทนจำหน่ายและสั่งซื้อที่
คุณ วรกัญณัฎฐ์   อัครเรืองวงศ์

โทร. 096-994-3599 , 095-163-9336



ID Line : kunnut599 

อีเมล์ : kunnut59@gmail.com






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น